Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors
Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

BOOTH & SHOWCASE

ZONE C
Organization
C1
วช. วิจัยและนวัตกรรม เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
BY. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ National Research Council of Thailand (NRCT)
C2
Biodiversity for Sustainable Development
BY. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย THE THAILAND RESEARCH FUND
C3
The living room research for life
BY. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) 
C4
The Value of Biodiversity จากความหลากหลายทางชีวภาพ สู่การนำไปใช้ประโยชน์และสร้างมูลค่า
BY. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburi
C5
เครือข่ายพันธมิตรด้านธุรกิจเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (Business and Biodiversity Network Alliance) และบัญชีชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม (IUCN Red List of Threatened Species)
BY. องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ International Union for Conservation of Nature (IUCN)
C6
Biodiversity Finance Initiative (BIOFIN)
BY. โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ประเทศไทย The United Nations Development Programme (UNDP)
C7
โครงการ พรรณพฤกษชาติประเทศไทย (Flora of Thailand)
BY. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation
C8
Biodiversity and Participation of Community
BY. กรมป่าไม้ Royal Forest Department
C9
การกลับมาของเต่ามะเฟือง
BY. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง Department of Marine and Coastal Resources
C10
บทบาทของสวนสัตว์ในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ (Zoo's roles for protecting biodiversity)
BY. องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King
ZONE C : C10

บทบาทของสวนสัตว์ในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ (Zoo's roles for protecting biodiversity)

หน่วยงาน :

องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
Zoological Park Organization under the Royal Patronage of H.M. the King

องค์การสวนสัตว์ ช่วยในการรักษาและเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ผ่านการรักษาชนิดพันธุ์และพันธุกรรมสัตว์ป่าหายาก (endangered species) ทั้งของในประเทศไทยและของสากล (international union for conservation of nature, IUCN) และยังเพิ่มจำนวนและความหลากหลายพันธุกรรมของสัตว์ป่าโดยใช้เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์ (Assisted Reproductive Technology) เข้ามาช่วย ตัวอย่างสัตว์ป่าที่ประสบความสำเร็จแล้ว เช่น การผสมเทียมละมั่ง ผสมเทียมเสือลายเมฆ และการผสมเทียมช้างเอเชีย เป็นต้น สำหรับสัตว์ป่าที่มีความพร้อมในการปล่อยคืนสู่ธรรมชาติจะมีการจัดทำ โครงการนำสัตว์ป่าคืนถิ่น (Wildlife Reintroduction) เป็นการเติมความหลากหลายทางชีวภาพลงไปในสภาพแวดล้อมอีกทางหนึ่ง อาทิ โครงการปล่อยนกกระเรียน ซึ่งเป็นการคืนถิ่นสัตว์ป่าในพื้นที่ชุมชนที่มีการอาศัยอยู่ร่วมกับคนในท้องถิ่น รวมถึงการทำโครงการอนุรักษ์และสำรวจความหลากหลายของพันธุกรรมพืชและสัตว์ที่อาศัยตามธรรมชาติของสวนสัตว์ทั่วประเทศ

“แสนรัก” ลูกช้างที่เกิดจากการผสมเทียมตัวอย่างความสำเร็จในการรักษาความหลากหลายพันธุกรรมของสัตว์ป่าโดยใช้เทคโนโลยีทางการสืบพันธุ์ (Assisted Reproductive Technology)

โครงการนำสัตว์ป่าคืนถิ่น (Wildlife Reintroduction) เป็นการเติมความหลากหลายทางชีวภาพลงไปในสภาพแวดล้อมเดิมอีกทางหนึ่ง อาทิ โครงการปล่อยนกกระเรียนพันธุ์ไทย ณ จังหวัดบุรีรัมย์